Switch view side scroll
on
- ห้องสมุดดิจิทัลกับอีเลิร์นนิงสำหรับเด็ก
- การบูรณาการห้องสมุดดิจิทัลกับอีเลิร์นนิง สำหรับเด็ก
- แนวคิดของการการบูรณาการห้องสมุดดิจิทัลกับอีเลิร์นนิงเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของเด็ก
- งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการบูรณาการห้องสมุดติจิทัลกับอีเลิร์นนิง
- Hasegawa and Kashihara (2002) ทำการวิจัยเรื่อง “An E-learning Library on the Web” เพื่อศึกษาวิธีการที่ช่วยให้ผู้เรียนเลือกเข้าถึงความรู้จากแหล่งการเรียนรู้บนเว็บ
- เพื่อศึกษาวิธีการที่ช่วยให้ผู้เรียนเลือกเข้าถึงความรู้จากแหล่งการเรียนรู้บนเว็บ (Web) แบบ hypermedia-base
- วิธีการดังกล่าวเป็นการจัดเตรียมห้องสมุดดิจิทัลเพื่อใช้สำหรับอีเลิร์นนิงแบบออนไลน์ผ่านอินเทอร์เน็ต
- มีส่วนประกอบที่สำคัญ 3 ส่วน
- ส่วนแรกคือแหล่งจัดเก็บทรัพยากรการเรียนรู้เป็นการรวบรวบและจัดเก็บโมดูล (module) แหล่งการเรียนรู้ออนไลน์ที่จัดระบบด้วยดัชนีที่มีคุณลักษณะพิเศษ
- ส่วนที่สองเป็นการจัดทำดัชนีภายในระบบ
- ส่วนสุดท้ายเป็นการจัดระบบช่วยนำทาง
- เพื่อศึกษาวิธีการที่ช่วยให้ผู้เรียนเลือกเข้าถึงความรู้จากแหล่งการเรียนรู้บนเว็บ (Web) แบบ hypermedia-base
- Hasegawa and Kashihara (2002) ทำการวิจัยเรื่อง “An E-learning Library on the Web” เพื่อศึกษาวิธีการที่ช่วยให้ผู้เรียนเลือกเข้าถึงความรู้จากแหล่งการเรียนรู้บนเว็บ
- ความสัมพันธ์ระหว่างห้องสมุดดิจิทัลกับอีเลิร์นนิง สำหรับเด็ก
- ความหมายของอีเลิร์นนิงและความสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องกับห้องสมุดติจิทัล
- อีเลิร์นนิง เป็นการเรียนรู้แบบมีปฏิสัมพันธ์ในบริบทของการเรียนรู้ออนไลน์ผ่านเครือข่ายการสื่อสาร ที่ได้จัดเตรียมการโต้ตอบอัตโนมัติสำหรับทุกกิจกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน
- ห้องสมุดดิจิทัลนอกจากจะให้บริการได้เสมือนห้องสมุดปกติที่เข้าถึงได้ทุกที่ทุกเวลาแล้วยังสามารถบูรณาการกับระบบอีเลิร์นนิง (E-learning ) เพื่อเพิ่มสมรรถนะในการเรียนรู้ได้อีกด้วย
- ประโยชน์ของห้องสมุดดิจิทัลที่ส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยอีเลิร์นนิง
- ห้องสมุดดิจิทัลมีบทบาทในการเตรียมทรัพยากรเพื่อการเรียนรู้ที่เข้าถึงในระยะไกล
- ห้องสมุดดิจิทัลช่วยให้แต่ละบุคคลสามารถมีส่วนร่วมโดยปราศจากพรมแดนทางภูมิศาสตร์ เพศวัย และข้อจำกัดทางร่างกาย
- เป็นบทบาทที่อยู่นอกเหนือการรับรู้และความเข้าใจของผู้ใช้ทั่วไป ซึ่งเป็นวิถีทางในการสนับสนุนการเรียนการสอนออนไลน์ในแง่ของการปรับปรุงประสิทธิภาพของผู้เรียน
- ความหมายของอีเลิร์นนิงและความสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องกับห้องสมุดติจิทัล
- ความหมายและความสำคัญของห้องสมุดดิจิทัล ต่อการพัฒนาการเรียนรู้ของเด็ก
- ความหมายและลักษณะของห้องสมุดดิจิทัล (Digital library)
- ความสำคัญของห้องสมุดดิจิทัลต่อการพัฒนาการเรียนรู้สำหรับเด็ก
- เด็กในช่วงเริ่มต้นถึงเจ็ดขวบ พัฒนาการเรียนรู้แบบลงมือทำด้วยตัวเองหรือปฏิบัติผ่านลักษณะที่เป็นรูปธรรม
- วัย 7-14 ปี เข้าใจและพัฒนาการเรียนรู้ในสิ่งที่เป็นนามธรรมได้จากการเรียนรู้โดยได้ลงมือกระทำอย่างสมํ่าเสมอจะนำไปสู่ความเคยชินในการปฏิบัติ
- สิ่งแวดล้อมรอบตัวเด็กในช่วงวัยนี้จึงต้องเป็นสิ่งแวดล้อมที่ดี โดยห้องสมุดดิจิทัลจะเป็นอีกทางหนึ่งที่จะสร้างสิ่งแวดล้อมที่ดีที่ส่งเสริมการเรียนรู้ให้แก่เด็ก
- บทนำ
- เด็ก ๆ มีความสามารถในการเรียนรู้จากสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัว และสภาวการณ์ต่าง ๆ ที่เด็กเข้าไปเกี่ยวข้องด้วย ซึ่งล้วนแต่มีอิทธิพลต่อการเรียนรู้ทั้งสิ้น ดังนั้นสิ่งที่ผู้ใหญ่ควรทำ คือการสร้างสรรค์สิ่งแวดล้อมที่ดีและจัดวิธีการเรียนรู้ที่เหมาะสมสำหรับเด็ก
- การพัฒนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที) ได้ส่งผลกระทบต่อการศึกษาเป็นอย่างมากโดยเฉพาะการลดข้อจำกัดทั้งด้านระยะทางและเวลาทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงวิถีของการเรียนรู้
- มีแนวโน้มที่เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้หลายอย่างจะถูกผนวกเข้าด้วยกัน (Convergance) อันจะนำไปสู่การพัฒนานวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
- แนวทางการพัฒนาห้องสมุดดิจิทัลสำหรับเด็ก
- การบูรณาการห้องสมุดดิจิทัลกับอีเลิร์นนิง สำหรับเด็ก
ห้องสมุดดิจิทัลกับอีเลิร์นนิงสำหรับเด็ก 39 concepts
By @swagjaeh