Switch view side scroll
on
- สารสนเทศศาสตร์ (Information science)วิทยาการสารสนเทศ (อังกฤษ: information science) หรือ สารสนเทศศาสตร์ หรือ สารนิเทศศาสตร์ หรือ สนเทศศาสตร์ (อังกฤษ: informatics) เป็นการศึกษาเกี่ยวกับทฤษฎีสารสนเทศ ตั้งแต่การรับรู้, การทำความเข้าใจ, การวิเคราะห์, การสังเคราะห์, การเก็บ, การค้นคืน, การสื่อสาร สารสนเทศอย่างเป็นระบบ ในการศึกษาด้านวิทยาการสารสนเทศนั้น มีความจำเป็นต้องศึกษาวิชาในสาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ด้วยเนื่องจากใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือสำหรับประมวลผลสารสนเทศ
- (NT) การค้นคืนสารสนเทศ (Information retrieval)
- (NT) รายการโยง (การค้นคืนสารสนเทศ) (Cross references (Information retrieval))การเชื่อมโยงสารสนเทศไปยังสารสนเทศอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น ในพจนานุกรมมีการบอกการเชื่อมโยงไปยังคำที่เกี่ยวข้องกัน หรือดัชนีท้ายเล่มของหนังสือที่บอกการเชื่อมโยงไปยังคำหรือกลุ่มคำที่เกี่ยวข้องกันหรือมีความหมายใกล้เคียงกัน อ้างอิง: https://en.wikipedia.org/wiki/Cross-reference
- (NT) ออนโทโลยี (การค้นคืนสารสนเทศ) (Ontologies (Information retrieval))การสร้างโครงสร้างฐานความรู้หรือขอบเขตใดขอบเขตหนึ่งซึ่งมีแนวคิดและความเข้าใจตรงกันและใช้ในการนิยามตัวแบบ (model) ภายในขอบเขตขององค์ความรู้เพื่ออธิบายสิ่งที่เราสนใจ (domain) ให้ได้ใจความและถูกต้อง
อ้างอิง: https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A0%E0%B8%A7%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2_(%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8)
- (BT) โครงสร้างข้อมูล (วิทยาการคอมพิวเตอร์)วิธีการจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์เพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โครงสร้างข้อมูลที่ออกแบบเป็นอย่างดีจะสามารถรองรับการประมวลผลที่หนักหน่วงโดยใช้ทรัพยากรที่น้อยที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ ทั้งในแง่ของเวลาและหน่วยความจำ อ้างอิง: https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%A5
- (NT) การจัดระเบียบสารสนเทศ (Information organization)เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการทำการอธิบายข้อมูล สารสนเทศ หรือเอกสาร การทำดัชนี และการจัดระบบหรือจัดหมวดหมู่ให้กับทรัพยากรสารสนเทศ เพื่อให้สามารถสืบค้นหรือค้นคืนได้ หรือเพื่อการเผยแพร่ทรัพยากรสารสนเทศ
อ้างอิง: https://en.wikipedia.org/wiki/Knowledge_organization
- (NT) การทำดัชนี (Indexing)การจัดทำชุดของคำหรือข้อความที่จะชี้แหล่งว่า คำหรือข้อความนั้นปรากฏอยู่ที่ส่วนใดของทรัพยากรสารสนเทศนั้น ๆ บ้าง โดยมักปรากฏอยู่ท้ายเล่มของทรัพยากรสารสนเทศที่เป็นหนังสือเพื่อช่วยผู้อ่านให้สามารถค้นหาว่าคำสำคัญที่ใช้ในตัวเล่มปรากฏอยู่ที่หน้าใดของตัวเล่มบ้างได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว ปัจจุบัน การทำดัชนีอาจใช้ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการจัดทำ อ้างอิง: https://en.wikipedia.org/wiki/Index_(publishing)
- (NT) การสร้างมโนภาพสารสนเทศ (Information visualization)การแสดงข้อมูลที่ถูกทำให้เป็นนามธรรมนามในลักษณะแบบแผนอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น การทำกราฟิกข้อมูล, การนำเสนอภาพข่าวสาร, การนำเสนอภาพวิทยาศาสตร์ และการทำกราฟิกสถิติ
อ้างอิง: https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%99%E0%B8%B3%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%A5
- (RT) การวิเคราะห์แบบจินตภาพ (Visual analytics)การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การทำเป็นภาพเข้ามาช่วยในการอธิบายและทำความเข้าใจข้อมูลในเชิงลึกได้ง่ายขึ้น เพื่อนำข้อมูลไปใช้ประกอบการตัดสินใจ การคาดการณ์แนวโน้ม เป็นต้น
อ้างอิง: https://en.wikipedia.org/wiki/Visual_analytics
- (BT) การอ้างเหตุผล (Reasoning)การพิสูจน์หรือตรวจสอบข้อความ ประโยค หรือประพจน์ที่เป็นข้อตั้ง มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เหตุผลสำหรับบทสรุปของสิ่งหนึ่งด้วยการกล่าวอ้าง อธิบาย หรือชักจูง และเพื่อพิสูจน์ความน่าเชื่อถือว่าข้อความที่เป็นบทสรุปนั้นสอดคล้องกับความจริงมากเพียงใด อ้างอิง: https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%95%E0%B8%B8%E0%B8%9C%E0%B8%A5
- (RT) การวิเคราะห์แบบจินตภาพ (Visual analytics)การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การทำเป็นภาพเข้ามาช่วยในการอธิบายและทำความเข้าใจข้อมูลในเชิงลึกได้ง่ายขึ้น เพื่อนำข้อมูลไปใช้ประกอบการตัดสินใจ การคาดการณ์แนวโน้ม เป็นต้น
อ้างอิง: https://en.wikipedia.org/wiki/Visual_analytics
- (NT) การสื่อสารทางสารสนเทศศาสตร์ (Communication in information science)การสื่อสาร เป็นการแลกเปลี่ยนสารสนเทศ ทั้งระหว่างบุคคล สิ่งมีชีวิตอื่น ๆ และคอมพิวเตอร์ ดังนั้น การสื่อสารทางสารสนเทศศาสตร์ อาจหมายถึง การสื่อสารแลกเปลี่ยนสารสนเทศทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมด้านสารสนเทศศาสตร์ เช่น การสื่อสารระหว่างบุคคลในวิชาชีพสารสนเทศ การสื่อสารทางวิชาการของนักวิชาการด้านสารสนเทศ การสื่อสารระหว่างบุคคลกับระบบสารสนเทศ เป็นต้น อ้างอิง: https://en.wikipedia.org/wiki/Communication
- (NT) ชีวสารสนเทศศาสตร์ (Bioinformatics)ชีวสารสนเทศศาสตร์ หรือ ชีววิทยาเชิงคำนวณ (อังกฤษ: Bioinformatics หรือ Computational Biology) เป็นสาขาที่ใช้ความรู้จากคณิตศาสตร์ประยุกต์, สถิติศาสตร์, สารสนเทศศาสตร์, และวิทยาการคอมพิวเตอร์ เพื่อแก้ปัญหาทางชีววิทยา.
การศึกษาชีวสารสนเทศศาสตร์ จะเกี่ยวข้องกับข้อมูลทางพันธุศาสตร์และอณูชีววิทยา เช่น ข้อมูลรหัสพันธุกรรม, ข้อมูลลำดับรหัสโปรตีน, ปริมาณชีวโมเลกุล (ระดับการแสดงออกของยีนต่าง ๆ) แต่ละชนิด (mRNA และโปรตีน), และข้อมูลหมายเหตุ (annotation data). โดยผู้ศึกษาวิจัย จะนำข้อมูลเหล่านี้ ไปใช้ในงานอย่าง การจัดเรียงลำดับรหัสโปรตีน การจัดโครงสร้างโปรตีน การทำนายโครงสร้างโปรตีน การค้นหายีน หรือ การสร้างหุ่นจำลองของวิวัฒนาการ. เนื่องจากข้อมูลที่ใช้นั้นมีจำนวนมาก ทำให้ใช้พื้นที่จัดเก็บมากตาม และบ่อยครั้งที่ข้อมูลมีความซับซ้อน ทำให้ต้องใช้การประมวลผลมากขึ้นเช่นกัน การศึกษาด้านชีวสารสนเทศศาสตร์ จึงค้นหาเทคนิควิธีที่จะทำให้การจัดเก็บ สืบค้น และประมวลผลเหล่านั้น เป็นไปได้โดยสะดวก และมีประสิทธิภาพ
Bioinformatics เป็นคำย่อจากคำเต็มว่า Molecular Bioinformatics ซึ่งหมายถึงสหการของ อณูชีววิทยา (Molecular Biology) กับ สารสนเทศศาสตร์ (Informatics), ในวงวิชาการไทยมักเรียกชื่อทับศัพท์ว่า ไบโออินฟอร์เมติกส์.
อ้างอิง :
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B8%A7%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C
- (RT) ชีววิทยาเชิงคำนวณ (Computational biology)ชีววิทยาเชิงคำนวณเกี่ยวข้องกับการพัฒนาและการประยุกต์ใช้วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลและทฤษฎีการสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์และเทคนิคการจำลองเชิงคำนวณเพื่อศึกษาระบบทางชีววิทยานิเวศวิทยาพฤติกรรมและสังคม ข้อมูลถูกกำหนดไว้ในวงกว้างและมีรากฐานในชีววิทยา , คณิตศาสตร์ประยุกต์ , สถิติ , ชีวเคมี , เคมี , ชีวฟิสิกส์ , ชีววิทยาระดับโมเลกุล , พันธุศาสตร์ , ฟังก์ชั่น , วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์และวิวัฒนาการ อ้างอิง : https://hmong.in.th/wiki/Computational_biology
- (RT) ชีววิทยาระบบ (Systems biology)ชีววิทยาระบบ (อังกฤษ: Systems biology) เป็นการศึกษาชีววิทยาที่เน้นความสัมพันธ์ระหว่างส่วนประกอบแยกย่อยของสิ่งมีชีวิตในภาพรวม (แทนการศึกษาส่วนประกอบย่อยๆ ทีละส่วน) แนวคิดทางชีววิทยาระบบคล้ายคลึงกับวิชาสรีรวิทยาในแง่ของการศึกษากลไกภายใต้ปรากฏการณ์ทางชีววิทยาผสมผสานกับเทคโนโลยีหลังยุคจีโนมที่ช่วยให้นักชีววิทยาศึกษาส่วนประกอบย่อย ๆ หลาย ๆ ส่วนได้พร้อมๆกัน อ้างอิง : https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B8%A7%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A
- (NT) นักเอกสารสนเทศ (Information scientists)The term information scientist developed in the latter part of the twentieth century by Wm. Hovey Smith to describe an individual, usually with a relevant subject degree (such as one in Information and Computer Science - CIS) or high level of subject knowledge, providing focused information to scientific and technical research staff in industry. It is a role quite distinct from and complementary to that of a librarian. Developments in end-user searching, together with some convergence between the roles of librarian and information scientist, have led to a diminution in its use in this context, and the term information officer or information professional (information specialist) are also now used.
อ้างอิง :
https://en.wikipedia.org/wiki/Information_scientist
- (BT) บรรณารักษ์ห้องสมุดเฉพาะ (Special librarians)[คำอธิบายจาก Copilot AI ของบริษัท Microsoft) A special librarian works in a library that holds materials for specific industries or fields. They manage the library’s collections and services, helping customers find and use library resources. Their tasks include cataloging new books and serials, assisting with strategic planning, and providing reference services1. Whether in public, academic, or specialized libraries, librarians serve as information specialists, fostering a love for learning, supporting research endeavors, and facilitating equitable access to knowledge for individuals across different age groups and backgrounds2. Here are some of the key responsibilities that librarians typically have: Collection Development: Librarians are responsible for selecting, acquiring, and organizing materials for their library’s collection. This can include books, journals, magazines, newspapers, digital resources, and multimedia materials. Cataloging and Classification: Once materials have been acquired, librarians must catalog and classify them so that they can be easily located and accessed by patrons. Reference Services: Librarians help patrons locate the information they need by answering reference questions, providing research assistance, and guiding patrons through the library’s resources. Instruction: Librarians may also provide instruction on how to use library resources effectively, including search strategies, database use, and citation formatting. Programming: Librarians often create and implement programs that promote literacy, cultural awareness, and lifelong learning. Special librarians focus on meeting the specific information needs of their organizations, providing specialized research services, and managing industry-specific collections. The overall work environment for librarians has evolved with the integration of technology2. So, special librarians play a crucial role in ensuring that relevant and valuable information is accessible to their targeted audience. อ้างอิง: Microsoft Copilot(AI). (2024). A special librarian. URL : https://www.bing.com/search?q=special+librarian&qs=n&form=QBRE&sp=-1&ghc=1&lq=0&pq=special+librarian&sc=11-17&sk=&cvid=16E8B63E0EA34846847A42BD000FF53C&ghsh=0&ghacc=0&ghpl=&showconv=1
- (RT) บรรณารักษ์ (Librarians)บรรณารักษ์ (อังกฤษ: librarian) คือ บุคคลที่มีความเป็นมืออาชีพในการจัดการข้อมูลในด้านบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ โดยส่วนใหญ่แล้วบรรณารักษ์มักจะทำงานในห้องสมุดสาธารณะ ห้องสมุดโรงเรียน ห้องสมุดมหาวิทยาลัย หรือแม้กระทั่งห้องสมุดในบริษัทต่างๆ รวมไปถึงโรงพยาบาล บรรณารักษ์มีหน้าที่ช่วยให้ผู้ที่มาใช้บริการทราบข้อเท็จจริง จัดหาสารสนเทศและค้นทรัพยากรสารสนเทศประเภทต่าง ๆ ทั้งหนังสือ วารสาร เว็บไซต์และสารสนเทศอื่น ๆ พิจารณาหนังสือ นิตยสาร ภาพยนตร์และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์โดยการจัดซื้อ จัดการหนังสือและทรัพยากรอื่น ๆ ที่ผู้ใช้ต้องการ อ้างอิง : https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B9%8C
- (NT) บรรณารักษศาสตร์ (Library science)การศึกษาเรื่องที่เกี่ยวกับการจัดเก็บ สิ่งพิมพ์, ข้อมูล, และสื่อ ทั้งภายในและภายนอกห้องสมุด รวมไปถึงการเรียนรู้ทางวิชาการ ในแง่ของทรัพยากรเพื่อการเรียนรู้ ว่าผู้ใช้ใช้ระบบห้องสมุดและระบบการเรียนรู้อื่น ๆ อย่างไร
อ้างอิง: https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C
- (NT) การวิเคราะห์หนังสือ (Classification -- Books)ทำเพื่อที่จะให้สามารถจัดเก็บหนังสือได้อย่างเป็นระเบียบ สะดวกในการค้นหา และการจัดเก็บเข้าที่เดิม โดยปัจจุบันมีระบบการจัดหมวดหมู่อยู่หลายระบบ โดยห้องสมุดแต่ละแห่งจะพิจารณาการจำแนกประเภทจากจำนวนหนังสือ ขนาดของห้องสมุด ประเภทของหนังสือที่ให้บริการ
อ้าอิง: https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%AB%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%B8%E0%B8%94
- (BT) หัวเรื่อง (Subject headings)คำศัพท์ควบคุมที่ใช้เป็นตัวแทนของเนื้อหาทั้งหมดของทรัพยากรสารสนเทศ ใช้เพื่อการจัดการและค้นคืนทรัพยากรสารสนเทศจากระบบสืบค้นหรือโปรแกรมค้นหา อ้างอิง: https://en.wikipedia.org/wiki/Index_term
- (BT) งานเทคนิค (ห้องสมุด) (Technical services (Libraries))เป็นงานหรือกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการจัดการและดูแลทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุด อาจแบ่งออกเป็นงานหลัก ได้แก่ การพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ การวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ และการจัดการทรัพยกรสารสนเทศ โดยอาจถือได้ว่าเป็นงานเบื้องหลังแต่เป็นงานที่เป็นโครงสร้างหลักของห้องสมุด ทำให้เกิดบริการอื่น ๆ ตามมา หลังจากมีทรัพยากรสารสนเทศให้บริการแล้ว อ้างอิง: https://en.wikipedia.org/wiki/Library_technical_services
- (NT) การวิเคราะห์หนังสือ (Classification -- Books)ทำเพื่อที่จะให้สามารถจัดเก็บหนังสือได้อย่างเป็นระเบียบ สะดวกในการค้นหา และการจัดเก็บเข้าที่เดิม โดยปัจจุบันมีระบบการจัดหมวดหมู่อยู่หลายระบบ โดยห้องสมุดแต่ละแห่งจะพิจารณาการจำแนกประเภทจากจำนวนหนังสือ ขนาดของห้องสมุด ประเภทของหนังสือที่ให้บริการ
อ้าอิง: https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%AB%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%B8%E0%B8%94
- (NT) บริการสารสนเทศ (Information services)บริการที่จัดโดยห้องสมุดหรือผู้ปฏิบัติงานในวิชาชีพสารสนเทศ
อ้างอิง: https://en.wikipedia.org/wiki/Information_services
- (NT) หอจดหมายเหตุ (Archives)แหล่งรวบรวมบันทึกทางประวัติศาสตร์ในรูปแบบต่าง ๆ โดยอาจเป็นบันทึกของบุคคลหนึ่ง ๆ หรือขององค์กรที่แสดงถึงชีวิต ประสบการณ์ สิ่งที่พบเจอ หรือการดำเนินงานขององค์กรนั้น ๆ ทรัพยากรสารสนเทศที่เลือกให้ถูกจัดเก็บในหอจดหมายเหตุมักถูกจัดเก็บอย่างถาวรหรือระยะยาวและเป็นทรัพยากรสารสนเทศที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม หรือเป็นหลักฐานสำคัญของบุคคลหรือองค์กรหนึ่ง ๆ อ้างอิง: https://en.wikipedia.org/wiki/Archive
- (NT) บริการตอบคำถาม (Reference services (Libraries))บริการที่ผู้ใช้ห้องสมุดสามารถใช้บริการได้ โดยลักษณะคือ เจ้าหน้าที่ห้องสมุดหรือบรรณารักษ์จะช่วยค้นหาหรือแนะนำวิธีการสืบค้นและเข้าถึงสารสนเทศที่ผู้ใช้ห้องสมุดต้องการหรือสามารถใช้ในการตอบคำถามที่ผู้ใช้บริการต้องการได้ ปัจจุบัน บริการนี้อาจอยู่ในลักษณะของบริการออนไลน์ของห้องสมุด https://en.wikipedia.org/wiki/Reference_desk
- (NT) ภูมิสารสนเทศ (Geomatics)วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับโครงสร้างและลักษณะของข้อมูลเชิงพื้นที่ การถ่ายภาพหรือเก็บข้อมูล การจำแนกคุณสมบัติข้อมูล การจัดเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล การแสดงผลและเผยแพร่ข้อมูล รวมถึงโครงสร้างพื้นฐานที่จำเป็นต่อการรักษาความปลอดภัยสำหรับการใช้ข้อมูลนี้อย่างเหมาะสม อ้างอิง: https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A0%E0%B8%B9%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8
- (NT) ระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ (Information storage and retrieval systems)ระบบที่มีความสามารถในการจัดเก็บ ค้นคืน และดูแลหรือจัดการทรัพยากรสารสนเทศที่อยู่ในระบบได้ โดยทรัพยากรสารสนเทศอาจอยู่ในหลายรูปแบบ เช่น ตัวอักษร ภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว เป็นต้น
อ้างอิง: https://link.springer.com/content/pdf/10.1007/978-0-585-32090-8_1.pdf
- (BT) ทรัพยากรสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic information resources)ทรัพยากรสารสนเทศที่อยู่ในรูปแบบดิจิทัล เช่น หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ฐานข้อมูล วารสารอิเล็กทรอนิกส์ ชุดข้อมูล สตรีมมิ่งมีเดีย ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ เป็นต้น
อ้างอิง: https://en.wikipedia.org/wiki/Electronic_resource_management
- (NT) ชุดข้อมูล (Data sets)ชุดของข้อมูล ในกรณีตารางข้อมูล ชุดข้อมูลอาจจะมีเพียงหนึ่งตารางหรือมากกว่านั้น โดยที่ทุกคอลัมน์ของตารางแสดงถึงตัวแปรเฉพาะ ข้อมูลของทุก ๆ แถวจะสอดคล้องกับเอกสารที่กำหนดรายละเอียดของชุดข้อมูล โดยชุดข้อมูลแสดงรายการตามค่าของตัวแปรแต่ละตัว เช่น ความสูงและน้ำหนักของคุณสมบัติสมาชิกของชุดข้อมูลแต่ละตัว นอกจากนั้น ชุดข้อมูลยังสามารถประกอบด้วยชุดของเอกสารหรือไฟล์ อ้างอิง: https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%8A%E0%B8%B8%E0%B8%94%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%A5
- (NT) ฐานข้อมูล (Databases)ฐานข้อมูลประกอบด้วยกลุ่มการจัดการข้อมูลสำหรับผู้ใช้หนึ่งคนหรือหลายๆ คน โดยทั่วไปมักอยู่ในรูปแบบดิจิทัล วิธีการแบ่งชนิดของฐานข้อมูลได้รูปแบบหนึ่งคือแบ่งตามชนิดของเนื้อหา เช่น บรรณานุกรม, เอกสารตัวอักษร, สถิติ โดยฐานข้อมูลดิจิทัลจะถูกจัดการโดยใช้ระบบจัดการฐานข้อมูลซึ่งเก็บเนื้อหาฐานข้อมูล โดยอนุญาตให้สร้าง, ดูแลรักษา, ค้นหา และการเข้าถึงในรูปแบบอื่น ๆ อ้างอิง: https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%90%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%A5
- (BT) ทรัพยากรสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic information resources)ทรัพยากรสารสนเทศที่อยู่ในรูปแบบดิจิทัล เช่น หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ฐานข้อมูล วารสารอิเล็กทรอนิกส์ ชุดข้อมูล สตรีมมิ่งมีเดีย ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ เป็นต้น
อ้างอิง: https://en.wikipedia.org/wiki/Electronic_resource_management
- (NT) เคมีสารสนเทศศาสตร์ (Cheminformatics)Cheminformatics (also known as chemoinformatics) refers to the use of physical chemistry theory with computer and information science techniques—so called "in silico" techniques—in application to a range of descriptive and prescriptive problems in the field of chemistry, including in its applications to biology and related molecular fields. Such in silico techniques are used, for example, by pharmaceutical companies and in academic settings to aid and inform the process of drug discovery, for instance in the design of well-defined combinatorial libraries of synthetic compounds, or to assist in structure-based drug design. The methods can also be used in chemical and allied industries, and such fields as environmental science and pharmacology, where chemical processes are involved or studied
Reference :
https://en.wikipedia.org/wiki/Cheminformatics
- (RT) เคมีคอมพิวเตอร์ (Computational chemistry)เคมีคอมพิวเตอร์ (Computational chemistry) หรือ เคมีการคำนวณ เป็นสาขาหนึ่งของเคมีทฤษฎี (theoretical chemistry) มีความคาบเกี่ยวกันระหว่างวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ (computer science) วิชาเคมี (chemistry) วิชาฟิสิกส์ และวิชาคณิตศาสตร์วัตถุประสงค์หลักก็คือการใช้แนวคิดทางทฤษฎีที่พิสูจน์ได้ทางฟิสิกส์และเคมีมาออกแบบหรือสร้างระบบจำลองที่มีประสิทธิภาพ ยกตัวอย่างเช่น ระบบจำลองของแข็ง ระบบจำลองดีเอ็นเอ ระบบจำลองโปรตีน เป็น้ตน ซึ่งในการประมาณการ (approximation) ทางคณิตศาสตร์จะใช้โปรแกรมการคำนวณ (computer program) มาคำนวณ เนื่องจากมีความซับซ้อนและความยุ่งยากทางคณิตศาสตร์มากเกินกว่าที่มนุษย์จะกระทำได้ ซึ่งคอมพิวเตอร์สมรรถนะสูงนี้เองที่เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้นักเคมีคำนวณลดระยะเวลาในการ simulation ลงอย่างมากอีกด้วย สำหรับสิ่งที่ต้องการจะศึกษาก็มีปลายรูปแบบแตกต่างกันไป ขึ้นกับระบบนั้น ๆ โดยส่วนมากจะใช้คำนวณหรือศึกษาคุณสมบัติของโมเลกุล (molecule) เช่น 1.พลังงานทั้งหมด (total energy) 2.พลังงานจลน์ หรือ พลังงานศักย์ 3.ตำแหน่งของอะตอมหรือโมเลกุลที่เหมาะสม (มีความสเถียร) 4.ลักษณะไดโพล (dipole) ค่าไดโพล 5.ควอดรูโพลโมเมนต์ (quadrupole moment) 6.ความถี่ของการสั่นสะเทือน (vibrational frequencies) 7.ความไวต่อปฏิกิริยา (reactivity) 8.สเปกโตรสโคปี่ (spectroscopic quantitities) 9.ครอสส์ เซกชั่น(ฟิสิกส์) (cross section (physics)) 10.ตัวแปรที่ส่งผลต่อระบบ เช่น อุณหภูมิ (temperature) หรือ ความดัน (pressure) เป็นต้น อ้างอิง : https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%B3%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%93
- (์NT) ทรัพยากรสารสนเทศ (Information resources)
- (RT) การทำบัตรรายการ (Cataloging)การทำบัตรรายการ (Cataloging) เป็นกระบวนการในการทำรายการต่างๆ ของวัสดุสิงพิมพ์เพื่อจัดทำเป็นบัญชีรายชื่อหนังสือ อ้างอิง : http://old-book.ru.ac.th/e-book/l/LB350/lb350(ls341)-10.pdf
- (RT) การลงรายการทางบรรณานุกรม (Cataloging)การลงรายการทางบรรณานุกรม หมายถึง การบันทึกข้อมูลทางบรรณานุกรมเพื่อแสดงรูปลักษณ์โดยทั่วไปของทรัพยากรสารสนเทศ โดยใช้มาตรฐานการลงรายการบรรณานุกรมตามแบบ AACR2 และ MARC21 อ้างอิง : สายสัมพันธ์ คีรีรัตน์. (2560). คู่มือปฏิบัติงานการลงรายการบรรณานุกรมตามมาตรฐาน AACR2 และ MARC21 ของสำนักบรรณสารการพัฒนา สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. กรุงเทพฯ : สำนักบรรณสารการพัฒนา สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. URL : https://www.km.nida.ac.th/th/images/PDF/manual/saima1.pdf
- (NT) บรรณานุกรม (Bibliography)บรรณานุกรม หมายถึง ข้อความที่ประกอบ หรือระบุหรือไว้ในส่วนท้าย หรือแนบท้ายหนังสือ รายงาน บทความวิชาการ และงานวิจัย เพื่อแสดงหลักฐาน ความน่าเชื่อถือ และเป็นแหล่งข้อมูลให้ผู้อ่านรายงาน บทความวิชาการ และงานวิจัย ได้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม อ้างอิง: https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1
- (NT) การค้นคืนสารสนเทศ (Information retrieval)
สารสนเทศศาสตร์ (Information science) 37 concepts
By @rathtee.p